Review MDfile
Posted: 29/04/2014 9:51 am
MDfile เป็นส่วนเสริมในโปรแกรมสร้างเว็บไซต์สำเร็จรูป Joomla ที่ช่วยให้การจัดการไฟล์เป็นเรื่องง่าย
ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากซับซ้อน อีกทั้งยังมีวิธีการที่เข้าใจง่ายแล้วยังใช้เวลาได้รวดเร็วอีกด้วย
เมื่อรู้แล้วว่า MDfile นั่นคืออะไร เราก็จะข้ามมาดูเรื่อง Featured ของตัว MD File กันดีกว่า ว่ามีรูปร่างอย่างไรบ้าง นี่คือหน้า Featured หลักๆ ซึ่งประกอบไปด้วยเมนู 5 เมนูใหญ่ๆ คือ Categories, Documents, Files, Links, Backup&Restore
รวมไปถึงยังมีแถบสถานะของเวอชั่นที่เราใช้อยู่ และเวอร์ชั่นปัจจุบันของตัว MDfile เพื่อให้สามารถตรวจสอบเวอร์ชั่นใหม่ได้อีกด้วย
ดังนั้นเรามาดูกันเลย เมนูแต่ละเมนูนั้นมีหน้าที่ไว้ทำอะไรบ้าง เริ่มต้นที่ไปที่เมนูแรกกันเลย นั่นคือ Categories
เป็นเมนูสำหรับสร้างหมวดหมู่ไว้ใส่ไฟล์ข้อมูลของเรา ที่มีหน้าที่เสมือนแฟ้มเก็บเอกสารงานของเรา นี่เป็นหน้าสร้าง Categories ซึ่งประกอบไปด้วยแถบ Detail ,Publishing Option และ Permission
Detail เป็นแถบสำหรับใส่รายละเอียดของตัวหมวดหมู่ที่เราจะสร้างขึ้น ทั้งชื่อ รูปภาพ ที่เราจะประกอบไปในหมวดหมู่ที่เราต้องการ
Publishing Option เป็นแถบแสดงข้อมูล รหัส จำนวนเข้าชม และวันที่สร้างของตัวหมวดหมู่นั้นๆ ซึ่งในส่วนนี้เราไม่ต้องไปกรอกอะไรเลย ตัวระบบจะทำการกรอกให้เองอัตโนมัติ
Permission เป็นแถบกำหนดสิทธิ์ของสามาชิกแต่ละกลุ่ม ว่าแต่ละกลุ่มนั้นสามารถทำอะไรกับตัวหมวดหมู่นี้ได้บ้าง
เมนูที่ 2 Document Document เป็นเมนูสำหรับสร้างไฟล์เอกสารที่เราต้องการให้แสดงบนเว็บไซต์ ซึ่งแถบต่างๆของเมนูนี้เหมือน Categories ที่ได้อธิบายไปแล้วข้างต้น ซึ่งจะมีส่วนต่างนิดหน่อย ในเรื่องของแถบ Detail
ในตัว Document นั้นมีส่วนรายละเอียดของหมวดหมุ่ที่อยู่ และไฟล์ที่ต้องการแนบในเอกสาร เพิ่มขึ้นมา
เมนูที่ 3 File เป็นเมนูสำหรับจัดการไฟล์ที่จะอัพโหดลขึ้นหน้าเว็บ ซึ่งในตัวไฟล์แต่ละไฟล์สามารถกำจัดสิทธิ์เข้าใช้ของสามาชิกได้
รวมถึงสามารถอัพโหลดไฟล์ต่างๆได้ทีละหลายๆไฟล์พร้อมกัน ซึ่งต่างจากเมนู Document ซึ่งได้ทีละไฟล์เท่านั้น
ทำให้การสร้างไฟล์เอกสารสะดวกมากขึ้น
เมนูที่ 4 Link เมนูนี้ดูในโดยรวมแล้วจะมีการทำงานเหมือนเมนู File แต่จะแตกต่างกันนิดหน่อย ตรง Link นั้น สำหรับจัดการ URLเชื่อมโยงข้อมูลที่เราต้องการจะนำไปใช้
เมนูที่ 5 Backup&Restore มีหน้าที่ตามชื่อเมนูของมันเลย ไว้สำหรับสำรองข้อมูลไว้เพื่อความปลอดภัย สามารถกู้ข้อมูลกลับคืนมาได้
และโอนถ่ายข้อมูลไปยังโฮสต์อื่นได้ง่าย
ทีนี้เราก็รู้ถึงเมนูและหน้าที่ของแต่ละเมนูมาหอมปากหอมคอแล้ว จากนี้เรามาดูส่วนสุดท้ายของรีวีวนี้กันดีกว่า ว่าไฟล์เอกสร้างที่เราได้สร้างขึ้นนั้นมันจะไปแสดงผลที่หน้าเว็บแบบไหนและมีหน้าตาอย่างไร ซึ่งตัว MDfile นั่นมีรูปแบบการแสดงผล 3 รูปแบบด้วยกัน คือ 1.Categories List เป็นการแสดงรายชื่อหมวดหมู่ที่เก็บไฟล์เอาไว้ 2.Document List เป็นการแสดงไฟล์เอกสารที่สร้างไว้ทั้งหมด 3.Single List เป็นการแสดงไฟล์เดี่ยวที่เราระบุไว้ เพียงไฟล์เดียว เราชอบรูปแบบไหนนั้น สามารถเลือกใช้ได้ตามความต้องการ
สรุปความสามารถของ mdfile
- สามารถอัพโหลดไฟล์ได้พร้อมกันหลายๆไฟล์
- มีการทำสถิติดาวโหลดและการเข้าชมทุกครั้ง
- เก็บรายเอียดของไฟล์ ไม่ว่าจะเป็นขนาดของไฟล์ วันเวลา คนอัพ และอื่นๆ
- จำกัดสิทธิ์การเข้าถึงไฟล์เอกสารของuser แต่ละกลุ่มได้
นี่หละครับ คือความสามารถ รูปร่างหน้าตา การใช้งานหลักๆของตัวส่วนเสริมนี้ คงได้รู้จักและเข้าใจตัว MDfile นี้ไม่มากก็น้อยหรือถ้าเกิดยังสงสัยหรืออาจจะยังไม่เข้าใจก็ลองดาวโหลดไปใช้งานดูคุณอาจจะเข้าใจมากขึ้นกว่าเดิมและติดใจส่วนเสริมตัวนี้ก็ได้
ไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยากซับซ้อน อีกทั้งยังมีวิธีการที่เข้าใจง่ายแล้วยังใช้เวลาได้รวดเร็วอีกด้วย
เมื่อรู้แล้วว่า MDfile นั่นคืออะไร เราก็จะข้ามมาดูเรื่อง Featured ของตัว MD File กันดีกว่า ว่ามีรูปร่างอย่างไรบ้าง นี่คือหน้า Featured หลักๆ ซึ่งประกอบไปด้วยเมนู 5 เมนูใหญ่ๆ คือ Categories, Documents, Files, Links, Backup&Restore
รวมไปถึงยังมีแถบสถานะของเวอชั่นที่เราใช้อยู่ และเวอร์ชั่นปัจจุบันของตัว MDfile เพื่อให้สามารถตรวจสอบเวอร์ชั่นใหม่ได้อีกด้วย
ดังนั้นเรามาดูกันเลย เมนูแต่ละเมนูนั้นมีหน้าที่ไว้ทำอะไรบ้าง เริ่มต้นที่ไปที่เมนูแรกกันเลย นั่นคือ Categories
เป็นเมนูสำหรับสร้างหมวดหมู่ไว้ใส่ไฟล์ข้อมูลของเรา ที่มีหน้าที่เสมือนแฟ้มเก็บเอกสารงานของเรา นี่เป็นหน้าสร้าง Categories ซึ่งประกอบไปด้วยแถบ Detail ,Publishing Option และ Permission
Detail เป็นแถบสำหรับใส่รายละเอียดของตัวหมวดหมู่ที่เราจะสร้างขึ้น ทั้งชื่อ รูปภาพ ที่เราจะประกอบไปในหมวดหมู่ที่เราต้องการ
Publishing Option เป็นแถบแสดงข้อมูล รหัส จำนวนเข้าชม และวันที่สร้างของตัวหมวดหมู่นั้นๆ ซึ่งในส่วนนี้เราไม่ต้องไปกรอกอะไรเลย ตัวระบบจะทำการกรอกให้เองอัตโนมัติ
Permission เป็นแถบกำหนดสิทธิ์ของสามาชิกแต่ละกลุ่ม ว่าแต่ละกลุ่มนั้นสามารถทำอะไรกับตัวหมวดหมู่นี้ได้บ้าง
เมนูที่ 2 Document Document เป็นเมนูสำหรับสร้างไฟล์เอกสารที่เราต้องการให้แสดงบนเว็บไซต์ ซึ่งแถบต่างๆของเมนูนี้เหมือน Categories ที่ได้อธิบายไปแล้วข้างต้น ซึ่งจะมีส่วนต่างนิดหน่อย ในเรื่องของแถบ Detail
ในตัว Document นั้นมีส่วนรายละเอียดของหมวดหมุ่ที่อยู่ และไฟล์ที่ต้องการแนบในเอกสาร เพิ่มขึ้นมา
เมนูที่ 3 File เป็นเมนูสำหรับจัดการไฟล์ที่จะอัพโหดลขึ้นหน้าเว็บ ซึ่งในตัวไฟล์แต่ละไฟล์สามารถกำจัดสิทธิ์เข้าใช้ของสามาชิกได้
รวมถึงสามารถอัพโหลดไฟล์ต่างๆได้ทีละหลายๆไฟล์พร้อมกัน ซึ่งต่างจากเมนู Document ซึ่งได้ทีละไฟล์เท่านั้น
ทำให้การสร้างไฟล์เอกสารสะดวกมากขึ้น
เมนูที่ 4 Link เมนูนี้ดูในโดยรวมแล้วจะมีการทำงานเหมือนเมนู File แต่จะแตกต่างกันนิดหน่อย ตรง Link นั้น สำหรับจัดการ URLเชื่อมโยงข้อมูลที่เราต้องการจะนำไปใช้
เมนูที่ 5 Backup&Restore มีหน้าที่ตามชื่อเมนูของมันเลย ไว้สำหรับสำรองข้อมูลไว้เพื่อความปลอดภัย สามารถกู้ข้อมูลกลับคืนมาได้
และโอนถ่ายข้อมูลไปยังโฮสต์อื่นได้ง่าย
ทีนี้เราก็รู้ถึงเมนูและหน้าที่ของแต่ละเมนูมาหอมปากหอมคอแล้ว จากนี้เรามาดูส่วนสุดท้ายของรีวีวนี้กันดีกว่า ว่าไฟล์เอกสร้างที่เราได้สร้างขึ้นนั้นมันจะไปแสดงผลที่หน้าเว็บแบบไหนและมีหน้าตาอย่างไร ซึ่งตัว MDfile นั่นมีรูปแบบการแสดงผล 3 รูปแบบด้วยกัน คือ 1.Categories List เป็นการแสดงรายชื่อหมวดหมู่ที่เก็บไฟล์เอาไว้ 2.Document List เป็นการแสดงไฟล์เอกสารที่สร้างไว้ทั้งหมด 3.Single List เป็นการแสดงไฟล์เดี่ยวที่เราระบุไว้ เพียงไฟล์เดียว เราชอบรูปแบบไหนนั้น สามารถเลือกใช้ได้ตามความต้องการ
สรุปความสามารถของ mdfile
- สามารถอัพโหลดไฟล์ได้พร้อมกันหลายๆไฟล์
- มีการทำสถิติดาวโหลดและการเข้าชมทุกครั้ง
- เก็บรายเอียดของไฟล์ ไม่ว่าจะเป็นขนาดของไฟล์ วันเวลา คนอัพ และอื่นๆ
- จำกัดสิทธิ์การเข้าถึงไฟล์เอกสารของuser แต่ละกลุ่มได้
นี่หละครับ คือความสามารถ รูปร่างหน้าตา การใช้งานหลักๆของตัวส่วนเสริมนี้ คงได้รู้จักและเข้าใจตัว MDfile นี้ไม่มากก็น้อยหรือถ้าเกิดยังสงสัยหรืออาจจะยังไม่เข้าใจก็ลองดาวโหลดไปใช้งานดูคุณอาจจะเข้าใจมากขึ้นกว่าเดิมและติดใจส่วนเสริมตัวนี้ก็ได้