ในส่วนบทความนี้ , จะเป็นส่วนหนึ่งในนำเสนอวิธีการสร้าง ตาราง Database ใน Project Larave , ผู้ที่สนใจอยากจะศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสร้างฐานข้อมูล ใน
Laravel Framework นี้ , บทความนี้อาจจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจอยากจะศึกษา แล้ว เอาไปพัฒนาต่อในการทำงานโปรแกรมส่วนอื่นๆ
วิธีการสร้างตาราง Database ใน Project Laravel
Step 01 - ให้เข้่าไปที่ Folder Project Laravel Framework , หา File ที่ชื่อ .env , แล้วให้ดูตรงที่

- 15.JPG (30.65 KiB) Viewed 344 times
Step 02 - ให้ทำการเปลี่ยนข้อมูลใน File .env ดังนี้
- DB_HOST=127.0.0.1 ทำการเปลี่ยน URL ให้ตรงกับตัวจำลอง Server
- DB_PORT=3306 ทำการเปลี่ยน Port ให้ตรงกับตัวจำลอง Server
- DB_DATABASE=test ทำการเปลี่ยน Name Database ให้ตรงกับตัวจำลอง Server
- DB_USERNAME=root ทำการเปลี่ยน Username เป็น root

- 18.JPG (59.12 KiB) Viewed 344 times
Step 03 - ให้เข้าไปทำการสร้าง Database ที่ Server จำลอง ของ phpmyadmin

- 19.JPG (17.52 KiB) Viewed 344 times
Step 04 - ทำการตั้งชื่อ Datbase

- 20.JPG (24.96 KiB) Viewed 344 times
Step 05 - ใช้คำสั่ง php artisan make:migration Test ใน Command promot , เพื่อสร้างตารางฐานข้อมูล

- 23.JPG (23.71 KiB) Viewed 344 times
Step 06 - เข้าไปใน File Project Laravel เรา แล้วเข้าไปที่ database/migration/<ชื่อตารางที่เราสร้าง>

- 16.JPG (62.92 KiB) Viewed 344 times
Step 07 - จากนั้นก็ทำการเขียนคำสั่งตั้งชื่อ ตารางข้อมูล , แล้วป้อนข้อมูลที่เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลลงไป มีอะไรบ้าง , ชื่อ คอลัมท์ , กำหนดชนิดข้อมูล , เช่น

- 17.JPG (58.52 KiB) Viewed 344 times
Step 08 - เมื่อทำการป้อนข้อมูล ที่ต้องการจะสร้างตารางฐานข้อมูล เรียบร้อยแล้ว ให้ทำการ Update Table ขึ้นไปใน Server จำลองฐานข้อมูล โดยใช้คำสั่งใน Command promot
ผลลัพธ์ที่ได้
เราก็จะได้ตาราง Database มา

- 24.JPG (29.62 KiB) Viewed 344 times
ข้อสรุป
ในบทความนี้เป็นการประยุกต์ใช้งาน Laravel Framework ร่วมกับ ภาษาโปรแกรม PHP , สามารถเอาไปต่อยอดในการพัฒนา Project ให้ดีขึ้น หากท่านอยากจะศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในการเริ่มต้นเขียน Programming PHP ,
ศึกษาได้จาก บทเรียนพื้นฐาน PHP เพิ่มเติมได้
แหล่งอ้างอิงข้อมูล
https://laravel.com/docs/8.x/migrations
https://medium.com/@geidtiphong/laravel-5-มาใช้-migration-models-factory-and-seeding-กันเถอะ-f3264f0abbfa
ในส่วนบทความนี้ , จะเป็นส่วนหนึ่งในนำเสนอวิธีการสร้าง ตาราง Database ใน Project Larave , ผู้ที่สนใจอยากจะศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสร้างฐานข้อมูล ใน [url=https://www.mindphp.com/forums/viewtopic.php?f=72&t=70032]Laravel Framework[/url] นี้ , บทความนี้อาจจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจอยากจะศึกษา แล้ว เอาไปพัฒนาต่อในการทำงานโปรแกรมส่วนอื่นๆ
[b][size=110]วิธีการสร้างตาราง Database ใน Project Laravel[/size][/b]
[b]Step 01[/b] - ให้เข้่าไปที่ Folder Project Laravel Framework , หา File ที่ชื่อ .env , แล้วให้ดูตรงที่
[attachment=8]15.JPG[/attachment]
[size=110][b]Step 02[/b][/size] - ให้ทำการเปลี่ยนข้อมูลใน File .env ดังนี้
[list]DB_HOST=127.0.0.1 ทำการเปลี่ยน URL ให้ตรงกับตัวจำลอง Server[/list]
[list]DB_PORT=3306 ทำการเปลี่ยน Port ให้ตรงกับตัวจำลอง Server[/list]
[list]DB_DATABASE=test ทำการเปลี่ยน Name Database ให้ตรงกับตัวจำลอง Server[/list]
[list]DB_USERNAME=root ทำการเปลี่ยน Username เป็น root [/list]
[attachment=7]18.JPG[/attachment]
[size=110][b]Step 03[/b][/size] - ให้เข้าไปทำการสร้าง Database ที่ Server จำลอง ของ phpmyadmin
[attachment=6]19.JPG[/attachment]
[size=110][b]Step 04[/b][/size] - ทำการตั้งชื่อ Datbase
[attachment=5]20.JPG[/attachment]
[size=110][b]Step 05[/b][/size] - ใช้คำสั่ง php artisan make:migration Test ใน Command promot , เพื่อสร้างตารางฐานข้อมูล
[attachment=4]23.JPG[/attachment]
[size=110][b]Step 06[/b] [/size]- เข้าไปใน File Project Laravel เรา แล้วเข้าไปที่ database/migration/<ชื่อตารางที่เราสร้าง>
[attachment=3]16.JPG[/attachment]
[size=110][b]Step 07[/b][/size] - จากนั้นก็ทำการเขียนคำสั่งตั้งชื่อ ตารางข้อมูล , แล้วป้อนข้อมูลที่เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลลงไป มีอะไรบ้าง , ชื่อ คอลัมท์ , กำหนดชนิดข้อมูล , เช่น
[list]id[/list]
[list]name(string)[/list]
[list]email(string)[/list]
[attachment=2]17.JPG[/attachment]
[size=110][b]Step 08[/b][/size] - เมื่อทำการป้อนข้อมูล ที่ต้องการจะสร้างตารางฐานข้อมูล เรียบร้อยแล้ว ให้ทำการ Update Table ขึ้นไปใน Server จำลองฐานข้อมูล โดยใช้คำสั่งใน Command promot
[list]php artisan migrate[/list]
[size=120][b]ผลลัพธ์ที่ได้[/b][/size]
เราก็จะได้ตาราง Database มา
[attachment=1]21.JPG[/attachment]
[attachment=0]24.JPG[/attachment]
[size=120][b]ข้อสรุป[/b][/size]
ในบทความนี้เป็นการประยุกต์ใช้งาน Laravel Framework ร่วมกับ ภาษาโปรแกรม PHP , สามารถเอาไปต่อยอดในการพัฒนา Project ให้ดีขึ้น หากท่านอยากจะศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในการเริ่มต้นเขียน Programming PHP ,[url=https://www.mindphp.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B9%8C/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99-php.html]ศึกษาได้จาก บทเรียนพื้นฐาน PHP[/url] เพิ่มเติมได้
[size=120][b]แหล่งอ้างอิงข้อมูล[/b][/size]
https://laravel.com/docs/8.x/migrations
https://medium.com/@geidtiphong/laravel-5-มาใช้-migration-models-factory-and-seeding-กันเถอะ-f3264f0abbfa