วิธีการเชื่อมความสัมพันธ์ข้อมูล one to many บน Laravel Framework

PHP Knowledge เป็น บอร์ดรวามความรู้ php เน้นบทความ แนวทางการเขียนโปรแกรม บันทึกกันลืม เพื่อให้สมาชิกได้เขียนความรู้ที่ตัวเองมีให้สมาชิกท่านอื่นๆ ได้ เข้ามาอ่าน และ ไว้อ่านเองกันลืมด้วย

Moderator: mindphp, ผู้ดูแลกระดาน

makup
PHP Super Member
PHP Super Member
โพสต์: 398
ลงทะเบียนเมื่อ: 05/10/2020 10:02 am

วิธีการเชื่อมความสัมพันธ์ข้อมูล one to many บน Laravel Framework

โพสต์ที่ยังไม่ได้อ่าน โดย makup »

ในบทความนี้ จะมาแนะนำ เกี่ยวกับ วิธีการเชื่อมความสัมพันธ์ฐานข้อมูลในรูปแบบ One to many บน Laravel Framework , ซึ่งจะมีส่วนสำคัญในการใช้ประโยชน์ , ในการแสดงข้อมูลส่วนต่างๆบนตาราง , ซึ่งหากใครที่ได้เข้ามาศึกษาจากบทความนี้ ก็สามารถศึกษาได้จากขั้นตอนแสดงการทำงานของบทความนี้ได้

วิธีการเชื่อมความสัมพันธ์ข้อมูล one to many บน Laravel Framework

Step 1 - ให้ทำการเปิด Command prompt ขึ้นมา , แล้วใช้คำสั่งสร้าง Model Airport,Airline พร้อมตารางฐานข้อมูลมาด้วยกัน

- ตัวอย่าง Code :

โค้ด: เลือกทั้งหมด

php artisan make:model Airport -m
php artisan make:model Airline -m
Step 2 - จากนั้นก็ทำการใส่ข้อมูลตาราง Airport , ดังตัวอย่างของ Code บรรทัดล่างนี้

- ตัวอย่าง Code :

โค้ด: เลือกทั้งหมด

 <?php

use Illuminate\Database\Migrations\Migration;
use Illuminate\Database\Schema\Blueprint;
use Illuminate\Support\Facades\Schema;

class CreateAirportsTable extends Migration
{
    /**
     * Run the migrations.
     *
     * @return void
     */
    public function up()
    {
        Schema::create('airports', function (Blueprint $table) {
            $table->integer('id');
            $table->string('name');                                             
            $table->text('address');
            $table->string('image');                                         
            $table->decimal('lati',10,6);                                            
            $table->decimal('longti',10,6);
            $table->timestamps();                                       
        });

       
    }

    /**
     * Reverse the migrations.
     *
     * @return void
     */
    public function down()
    {
        Schema::dropIfExists('airports');
    }
}

Step 3 - จากนั้นก็ทำการใส่ข้อมูลตาราง Airline , ดังตัวอย่างของ Code บรรทัดล่างนี้

- ตัวอย่าง Code :

โค้ด: เลือกทั้งหมด

 <?php

use Illuminate\Database\Migrations\Migration;
use Illuminate\Database\Schema\Blueprint;
use Illuminate\Support\Facades\Schema;

class CreateAirlinesTable extends Migration
{
    /**
     * Run the migrations.
     *
     * @return void
     */
    public function up()
    {
        Schema::create('airlines', function (Blueprint $table) {
            $table->integer('id');
            $table->string('name_airline');
            $table->string('name_comp');
            $table->string('image');
            $table->timestamps();
        });
    }

    /**
     * Reverse the migrations.
     *
     * @return void
     */
    public function down()
    {
        Schema::dropIfExists('airlines');
    }
}

Step 3 - ทำการ Update ตารางขึ้นบน Server จำลองฐานข้อมูล โดยใช้คำสั่งดังนี้

- ตัวอย่าง คำสั่ง :

โค้ด: เลือกทั้งหมด

php artisan migrate

Step 4 - เราก็จะได้ข้อมูลในตารางของ Airport นี้มา , ในส่วนตารางของ Airline ก็เช่นกัน
81.JPG
81.JPG (33.24 KiB) Viewed 4678 times

Step 5 - ให้เข้าไปที่ตารางฐานข้อมูล airflights
82.jpg
82.jpg (7.33 KiB) Viewed 4678 times


Step 6 - จากนั้นทำการ Update id_airport , id_airline ให้เป็น foreign key
83.JPG
83.JPG (51.92 KiB) Viewed 4678 times
Step 7 - ทำการเลือก Relation view
83-1.JPG
83-1.JPG (27.23 KiB) Viewed 4678 times

Step 8 - ให้ทำการตั้งชื่อ Constraint name เป็นชื่อเกี่ยวข้อง foreign key เช่น fk_airflight_airline_id , แล้วเปลี่ยนตรงส่วน ON DELETE เป็น NO ACTIONS , แล้วเปลี่ยนตรงส่วน ON UPDATE เป็น CASCADE
84.JPG
84.JPG (52.82 KiB) Viewed 4678 times

Step 9 - ในส่วนตรงนี้ ให้ทำตามตรง ภาพตัวอย่างที่แสดงอยู่
85.JPG
85.JPG (64.69 KiB) Viewed 4678 times

Step 10 - ในส่วนตรงนี้ เชื่อมโยมความสัมพันธ์ ระหว่าง Foreign key(id_airport,id_airline กับ Primary key(id)
86.JPG
86.JPG (50.2 KiB) Viewed 4678 times

Step 11 - เราก็จะได้กุญแจสีเทา ที่เป็น Foreign key มk
87.JPG
87.JPG (15.22 KiB) Viewed 4678 times

Step 12 - ให้ทำการเข้าไปที่ app/Airport
87-1.JPG
87-1.JPG (25.37 KiB) Viewed 4678 times

Step 13 - แล้วทำการ ใช้ Function hasMany ในเชื่อมความสัมพันธ์ one to many เชื่อมต่อใน function airflight_1 โดยโยงไปที่ Model Airflight ,โดยมีอ้างอิงกุญแจ foreign key(id_airport) กับ primary key(id) ไป

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<?php

namespace App;

use Illuminate\Database\Eloquent\Model;

class Airport extends Model
{
    public function airflight_1()						
    												
    {
        return $this->hasMany('App\Airflight','id_airport','id');		//ใช้ Function hasMany ในเชื่อมความสัมพันธ์ one to many เช่น ...
    												//.... รองเท้ากีฬา -> ประเภท รองเท้า , ประเภท รองเท้า -> รองเท้ากีฬา ....
    												//....						     ประเภท รองเท้า -> รองเท้าส้นสูง ....
    												//....						     ประเภท รองเท้า -> รองเท้าแตะ .... 
    												//.... อันนี้คือ ความสัมพันธ์ แบบ one to many ...	
        											//.... เชื่อมต่อใน function airflight_1 โดยโยงไปที่ Model Airflight ,โดยมีอ้างอิงกุญแจ ...
        											//.... foreign key(id_airport) กับ primary key(id) ไป     
        											
    }

    

}
Step 14 - ให้ทำการเข้าไปที่ app/Airline
87-3.JPG
87-3.JPG (26.16 KiB) Viewed 4678 times

Step 15 - ใช้ Function hasMany ในเชื่อมความสัมพันธ์ one to many ในส่วนของ Model Airline เชื่อมต่อใน function airflight_1 โดยโยงไปที่ Model Airflight ,โดยมีอ้างอิงกุญแจ foreign key(id_airport) กับ primary key(id) ไป

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<?php

namespace App;

use Illuminate\Database\Eloquent\Model;

class Airline extends Model
{


public function airflight_2()						
    												
    {
        return $this->hasMany('App\Airflight','id_airline','id');		//ใช้ Function hasMany ในเชื่อมความสัมพันธ์ one to many ในส่วนของ Model Airline ...
        											//.... เชื่อมต่อใน function airflight_1 โดยโยงไปที่ Model Airflight ,โดยมีอ้างอิงกุญแจ ...
        											//.... foreign key(id_airport) กับ primary key(id) ไป     
        											
    }

    

     
}
Step 16 - ให้ทำการเข้าไปที่ app/Airflight
87-2.JPG
87-2.JPG (26.05 KiB) Viewed 4678 times

Step 17 - Model Airflight มีการเชื่อมต่อกับ Model Airport , Model Airline โดยใช้ Function belongsTo โดยมีการอ้างอิงไปที่ foreign key(id_airport) กับ primary key(id) ด้วย

โค้ด: เลือกทั้งหมด

<?php

namespace App;

use Illuminate\Database\Eloquent\Model;

class Airflight extends Model
{

     public function airport()

    {
        return $this->belongsTo('App\Airport', 'id_airport','id');             //Model Airflight  มีการเชื่อมต่อกับ Model Airport โดยใช้ Function  belongsTo ...   
        											     //.... โดยมีการอ้างอิงไปที่  foreign key(id_airport) กับ primary key(id) ด้วย       
    }




 
     public function airline()                     
                                                    
    {
        return $this->belongsTo('App\Airline', 'id_airline','id');    
                                                    
    }


   
   
}

ผลลัพธ์ที่ได้
ก็จะมีการแสดง ชื่อที่ตั้งสนามบิน ชื่อสายการบิน ของ ตารางเที่ยวบิน , ที่มีการเชื่อมต่อความสัมพันธ์ฐานข้อมูลในรูปแบบ One to many
88.JPG
88.JPG (35.88 KiB) Viewed 4678 times

ข้อสรุป
Function hasMany เป็นเชื่อมความสัมพันธ์ในรูปแบบของ One to many และมีการใช้ Function belongsTo เข้ามาเชื่อมต่อ ในการทำงานด้วย , ซึ่งจะมีประโยชน์ในเรื่องการจัดการ Database , และมีส่วนในการแสดงการเชื่อมหลายๆตารางในฐานข้อมูล , หากต้องการศึกษาจาก บทเรียน Laravel Framework หลายๆเรื่อง สามารถศึกษาได้จากบทเรียนนี้


แหล่งอ้างอิงข้อมูล
https://laravel.com/docs/8.x/eloquent-relationships
https://seenual.com/laravel-5-4-eloquent-relationships-การกำหนดความสัมพัน/
https://laravel-guide.readthedocs.io/en/latest/eloquent-relationships/
  • Similar Topics
    ตอบกลับ
    แสดง
    โพสต์ล่าสุด

ผู้ใช้งานขณะนี้

สมาชิกกำลังดูบอร์ดนี้: ไม่มีสมาชิกใหม่ และบุคลทั่วไป 68