IP header คืออะไร 

    IP header คือ กระบวนการที่ต่อจาก Encapsulation ข้อมูลที่ได้ติดต่อได้เเก่ ข้อความในอีเมล์ หรือไฟล์ที่ส่งมา จะถูกผนึกข้อมูลหรือ Encapsulation ไปเป็นรูป IP Datagramโดยจะประกอบด้วย IP header ที่มีขนาด 32 byte และส่วนเนื้อหาข้อมูลที่เรียกว่า Payload และขนาดของ IP Datagram มีขนาดไม่เเน่นอน ใน IP แต่ละแพ็กเก็ตเรียกว่าดาต้าแกรม โครงสร้างของ IP ดาต้าแกรมจะได้ดังรูปที่แสดงด้านล่าง

ตารางอธิบายเกี่ยวกับส่วนประกอบ IP Header
ส่วนประกอบของ IP Header

 

IP header มีการเเบ่งย่อยเพื่อระบุพารามิเตอร์ในการใช้งานต่าง ๆ ดังนี้ 

  •  Version มีขนาด 4 บิตถูกกำหนดค่า ในกรณีที่ใช้ IP Address ที่เป็น IPv4 และจะเป็น 6 บิตเมือเป็น IPv6

        - IPv4 ใช้ Address ขนาด 32  Bits แบ่งออกเป็น Unicast, Multicast, Broadcast และ Anycast ขนาดของ IPv4 Header อยู่ที่ 20 Bytes 

        - IPv6 ใช้ Address ขนาด 128  Bits แบ่งออกเป็น Unicast, Multicast และ Anycast (IPv6 ไม่มีการใช้งาน Broadcast เหมือนกับแบบ IPv4 เนื่องจากมีการใช้งาน Multicast ทดแทน) ขนาดของ IPv4 Header อยู่ที่ 40 Bytes (มีบาง Field ของ IPv4 ถูกเอาออกและเพิ่ม Field ใหม่เข้ามาตามรูปนะครับ) 

  • length มีขนาด 4 บิตซึ่งเป็นความยาวของ IP header  นี้ 
  • Type of Service เป็น ฟีลด์ข้อข้อมูลขนาด 8 บิต เพื่อบอกให้ทราบว่าจะดำเนินการกับข้อมูลนี้อย่างไร 
  • Total Length มีขนาด 16 บิต เพื่อเก็บข้อมูลแสดงความยาวสุทธิ ของจำนวนที่เป็น Byte โดยขนาดของ IP Datagram ต้องยาวไม่เกิน 216 หรือ หรือ 65,535 Byte 
  • IP datagram มีขนาดเล็กสุด ที่ 576 Byte ซึ่งไม่สามารถเเยกได้ย่อยกว่านี้
  • Identification เป็นข้อมูลที่บอกให้ทราบว่า IP datagram มาจากที่ไหน ในกรณีที่ข้อมูลถูกเเยกออกเป็นส่วนย่อย  ๆ 
  • Flags เป็นส่วนข้อมูลที่ใช้ระบุการแยกและรวมข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลแยกออกเป้นข้อมูลย่อย และสามารถกลับมาเรียงลำดับใหม่อย่างถูกต้อง
  • Time หรือ Time to Live เป็ฯข้อมูลเเสดงจำนวนเวลามากที่สุดของ IP datagram ซึ่งจะสามารถส่งผ่านเครือข่ายไปยังปลายทางได้ โดยมีหน่วยเป็นวินาที 
  • Protocolเป็นข้อมูลการระบุโปรโตคอลที่ทำงานใน Layer ข้างบนซึ่งจะผนึกลงมาใน IP datagram 
  • Header Checksum เป็นส่วนของข้อมูลที่ใช้ตรวจสอบความถูกต้องเฉพาะกลุ่มในส่วนของ IP header  ไม่รวม Payload 
  • Source IP Address เป็นส่วนที่ไว้เก็บ IP Address ต้นทางที่ IP datagram ที่ส่งมา การตั้งค่าการเชื่อมต่อก่อนที่จะส่งเซลล์ใด ๆ เมื่อมีการตั้งค่าการเชื่อมต่อแต่ละเซลล์จะต้องรู้ว่าโหนดใดที่มีการเชื่อมโยงโดยตรงไปยังโหนดนี้เพื่อไปที่ถัดไปดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้อง มีข้อมูลที่อยู่ที่สมบูรณ์ แต่การส่งดาต้าแกรม IP ข้ามเครือข่ายจะไม่มีการตั้งค่าการโทรล่วงหน้าก่อนดาต้าแกรมออกจากสถานี ดาต้าแกรมต้องค้นหาเส้นทางของตัวเองไปสู่จุดหมาย ดังนั้นจึงต้องการข้อมูลปลายทางที่สมบูรณ์ นั้นเอง
  • Destination IP Address เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลของ IP Address ปลายทาง
  • Option เป็นฟิลด์เก้บข้อมูลของ IP Address ปลายทางที่เป็นผู้รับข้อมูล IP datagram 
  • Padding ทำหน้าที่เป็นส่วนที่เติมเต็มข้อมูลเพื่อให้ IP header เต็ม 32 Byte ซึ่งเป็นผลมาจาก Option ไม่เเน่นอน

IP Header เป็นสิ่งที่ได้จากกระบวนการ Encapsulation มีหน้าที่ติดต่อไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาในอีเมล์ หรือไฟล์ที่ถูกส่งมมา จะถูกผลึกข้อมูลหรือ Encapsulation ไปในรูป IP datagram และสุดท้ายก็จะถูกแปลงเป็น Ethernet Frame ในรูปแบบอื่น ๆ ตามลักษณะการเชื่อมต่อทางกายภาพ โดย IP datagram จะปพกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ส่วน IP Header ซึ่ง IP header  มีขนาดอยู่ที่ 32 Byte และส่วนที่เรียกได้ว่าเป็นข้อมูล payload นั้นขนาดของ IP datagram นั้นจะมีขนาดไม่แน่นอน 

 

   สำหรับคนที่สงสัยว่า IP Address คืออะไร ไอพี แอดเดรส คืออะไร สามารถเข้าไปอ่านข้อมูลเพิ่มเติมจากที่ตรงนี้ได้เลย หรือว่าจะเป็น IPv4 ไอพีวี 4 คืออะไร IPv4 (ไอพีวี 4) คือ หมายเลข IP Address (ไอพี แอดเดรส)มีขนาด 32 บิท IPv4 ย่อมาจาก "Internet Protocol Version 4 และ IPv6 ไอพีวี 6 คืออะไร IPv6 (ไอพีวี 6)คือ กลไกสำคัญในการทำงานของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตคือโพรโทคอลอินเทอร์เน็ต ก็สามารถเข้ามาอ่านที่นี่ได้เช่นเดียวกัน

 

อ้างอิง

What's in an IP header?.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : http://www.rpi.edu/locker/75/000475/main/subsection3_10_2.html .[9.3.2020]

The IP datagram structure.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก :http://mars.netanya.ac.il/~unesco/cdrom/booklet/HTML/NETWORKING/node020.html .[9.3.2020]

IP Header ของ IPv4 และ IPv6.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก :http://tanyalak23.blogspot.com/2009/11/ip-header-ipv4.html .[9.3.2020]

IP Datagram .[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก :http://wich246.tripod.com/gram.htm .[9.3.2020]

ความแตกต่างระหว่าง IPv4 และ IPv6.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก : http://www.ninehua.com/index.php/story/menu-nw/186-ipv4ipv6 .[9.3.2020]

กระทู้ล่าสุดจากเว็บบอร์ด
หัวข้อกระทู้
ตอบ
เปิดดู
ล่าสุด
selenium เวอร์ชั่น ปัจจุบัน เป็นเวอร์ชั่นที่เท่าไหร่
โดย athirach.offcial จ 01 เม.ย. 2024 11:39 am บอร์ด Software testing
0
59
จ 01 เม.ย. 2024 11:39 am โดย athirach.offcial View Topic selenium เวอร์ชั่น ปัจจุบัน เป็นเวอร์ชั่นที่เท่าไหร่
ปัจจัยที่ทำให้เกิด Spam score ในเว็บไซต์
โดย athirach.offcial จ 01 เม.ย. 2024 11:27 am บอร์ด Share Knowledge
0
108
จ 01 เม.ย. 2024 11:27 am โดย athirach.offcial View Topic ปัจจัยที่ทำให้เกิด Spam score ในเว็บไซต์
Dell Optiplex 980 ไม่รองรับแรม Rank แบบ Single Rank
โดย mindphp จ 01 เม.ย. 2024 1:55 am บอร์ด ถาม - ตอบ คอมพิวเตอร์
0
336
จ 01 เม.ย. 2024 1:55 am โดย mindphp View Topic Dell Optiplex 980 ไม่รองรับแรม Rank แบบ Single Rank
การจัดประเภทของการ Test โปรแกรม
โดย athirach.offcial ส 30 มี.ค. 2024 12:54 pm บอร์ด Software testing
0
191
ส 30 มี.ค. 2024 12:54 pm โดย athirach.offcial View Topic การจัดประเภทของการ Test โปรแกรม
เทคนิคการเขียน Test Case ให้ครอบคลุม
โดย athirach.offcial ส 30 มี.ค. 2024 12:50 pm บอร์ด Software testing
0
141
ส 30 มี.ค. 2024 12:50 pm โดย athirach.offcial View Topic เทคนิคการเขียน Test Case ให้ครอบคลุม
Automated test เหมาะสำหรับงานเทสแบบไหน
โดย athirach.offcial ส 30 มี.ค. 2024 12:46 pm บอร์ด Software testing
0
148
ส 30 มี.ค. 2024 12:46 pm โดย athirach.offcial View Topic Automated test เหมาะสำหรับงานเทสแบบไหน
การตรวจสอบภาคจ่ายไฟให้กับ HDD และการระบุปัญหา คอมใช้สัดพักแล้วดับ เครื่อง รีสตาร์ทเอง
โดย mindphp ส 30 มี.ค. 2024 12:43 pm บอร์ด Microsoft Office Knowledge & line & Etc
1
165
ส 30 มี.ค. 2024 12:51 pm โดย mindphp View Topic การตรวจสอบภาคจ่ายไฟให้กับ HDD และการระบุปัญหา คอมใช้สัดพักแล้วดับ เครื่อง รีสตาร์ทเอง
การใช้ Selenium เพื่อเช็คความเร็วของหน้าเว็บ
โดย athirach.offcial ส 30 มี.ค. 2024 12:39 pm บอร์ด Software testing
0
163
ส 30 มี.ค. 2024 12:39 pm โดย athirach.offcial View Topic การใช้ Selenium เพื่อเช็คความเร็วของหน้าเว็บ